ยุโรปไม่เอาเขมร! รัฐสภายุโรปสั่งสมาชิกสหภาพยุโรป คว่ำบาตรกัมพูชาทันที

รัฐสภายุโรปประกาศเรียกร้องให้สหภาพยุโรป คว่ำบาตรกัมพูชาพร้อมให้ทบทวนสิทธิพิเศษ ทางการค้าหรือ eba ที่เหลืออีก 80% แจ้ง ขอให้ประเทศสมาชิกดำเนินการในทันที กัมพูชายังมีลุ้นดับ 2 จากรัฐบาลอเมริกัน ต่อที่อาจจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศเสีย หายอย่างหนักรัฐบาลไทยจะต้องระวังจะถูก ห่างเลขไปด้วยเมื่อให้ความร่วมมือกับ รัฐบาลเขมรในการส่งตัวผู้รีบภัยทางการ เมืองกลับประเทศจนล่าสุดองค์การ สหประชาชาติออกมาประณามผ่านสื่อ หลังจากที่เราได้นำเสนอข่าวไปว่ารัฐบาล อเมริกันในยุคของนายโจไบเดนร่วมมือกับ หน่วยงานสากลด้านสิทธิมนุษยชนหลายแห่ง จ้องคนล้มรัฐบาลของนายฮุนมาเนตและมีแนว โน้มว่านายรัฐบาลทรัมป์รัฐบาลเขมรอาจจะตก อยู่ในสถานการณ์ที่แย่ลงไปอีกเมื่อนาย มาโกรูบิโอว่า้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ต่างประเทศคนใหม่ของรัฐบาลทรัมป์ที่เป็น คู่กรณีเก่าของรัฐบาลฮุนเซนอาจจะมี มาตรการคว่ำบาตกัมพูชาออกมาในอนาคตเหมือน ที่เคยพยายามผลักดันมาแล้วในอดีตแต่ล่า สุดคงไม่ต้องรอให้ถึงมือรัฐบาลอเมริกัน แล้วเมื่อรัฐสภายุโรปเรียกร้องให้มีการทบ ทวนสิทธิพิเศษทางการค้าหรือ eba ที่เหลือ อีก 80% ของกัมพูชาและกำหนดมาตรการคว่ำ บาตรเจ้าหน้าที่รัฐบาลกัมพูชาเป็นการ เฉพาะและกำทับให้พระเทศสมาชิกทุกประเทศ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามในทัน ทีและให้สวนมติการตัดสินใจนี้ไปยังรัฐบาล กัมพูชาและสำนักงานของอาเซียนด้วยโดย เนื้อหาของมติรัฐสภายุโรปมีใจความดังนี้ มติของรัฐสภายุโรปเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2024 เกี่ยวกับพื้นที่ที่หดตัว สำหรับสังคมพลเมืองในกัมพูชาโดยเฉพาะ อย่างยิ่งกรณีขององค์กรสิทธิแรงงานหรือ เซ็นทรัลรัฐสภายุโรปโดยคำเนินถึงมติครั้ง ก่อนๆเกี่ยวกับกัมพูชาโดยคำนึงถึงกฎข้อ ที่ 150 วรรค 5 และข้อที่ 136 วรรค 4 ของ ระเบียบปฏิบัติข้อ a ในขณะที่พื้นที่ พลเมืองของกัมพูชาหดตัวลงตั้งแต่ปี 2560 โดยโดยทางการและองค์กรของกัมพูชาที่ร่วม มือกับรัฐบาลในการกำหนดเป้าหมายไปที่ สหภาพแรงงานฝ่ายค้านทางการเมืองผู้ปกป้อง สิทธิมนุษยชนนักข่าวองค์กรหน้าสิทธิแรง งานและผู้พิทักษ์สิ่งแวดล้อมรวมถึงศูนย์ พันธมิตรแรงงานและสิทธิมนุษยชนหรือ เซ็นทรักลุ่ม equitable Cambodia และ กลุ่ม Master Nature Cambodia ข้อ B Central ได้เผยพพรการ ประเมินโครงการ Better factories Cambodia ของ ilo ซึ่งเน้นถึงการละเมิด เสรีภาพในการรวมตัวการไม่ปฏิบัติตาม มาตรฐานรายงานระหว่างประเทศและความพยายาม ของรัฐบาลที่จะปิดปากการแสดงความคิดเห็น ที่อิสระและหลังจากรายงานนี้เซ็นทรัและ ผู้จัดการโครงการนายคุณทาโรต้องเผชิญกับ การคุกคามและการคุกคามทางกฎหมายที่ไม่มี มูลความจริงข้อ 1 ประณามการหดตัวของพื้น ที่พลเมืองในกัมพูชาเรียกร้องให้ปล่อยตัว นักโทษการเมืองนักเคลื่อนไหวนักข่าวรวม ถึงนักข่าวที่ได้รับรางวัลนายเมดารานักปก ป้องสิทธิมนุษยชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในภาคประชาสังคมอื่นๆที่ถูกจับกุมในข้อ กล่าวหาที่มีแรงจูงใจทางการเมืองโดยทันที เรียกร้องให้ยุติกรปราบปรามและการคุกคาม ที่มุ่งเป้าไปที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน กลุ่มภาคประชาสังคมทั้งหมดโดยทันทีข้อ 2 เรียกร้องให้ทางการกัมพูชายกเลิกข้อกล่าว หาที่มีแรงจูนใจทางการเมืองทั้งหมดที่มี ต่อกลุ่มเซ็นทรัลและสมาชิกหยุดการตรวจสอบ และการใส่ร้ายป้ายสีที่มีแรงจูงใจทางการ เมืองและเคารพบทบาทขององค์กรภาคประชา สังคมรวมถึงกลุ่ม equitable C และกลุ่ม มา Nature cambia ในการส่งเสริมพลงงาน และสิทธิมนุษยชนและปกป้องสิ่งแวด ล้อมข้อ 3 เรียกร้องให้ทางการกัมพูชาแก้ ไขกฎหมายสหภาพแรงงานกฎหมายว่าด้วยสมาคม และองค์กรนอกภาครัฐและกฎหมายอื่นๆที่ เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่สอดคล้องกับสิทธิ มนุษยชนและมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ เพื่อให้แน่ใจว่ามีการคุ้มครองแรงงานและ สังคม พลเมืองข้อ 4 เรียกร้องให้บริษัทที่ ดำเนินการในสหภาพยุโรปที่จัดหาสินค้าจาก กัมพูชาดำเนินการตรวจสอบสิทธิมนุษยชน อย่างถี่ถ้วนในห่วงโซ่อุปทานของตนเพื่อ ให้แน่ใจว่ามีอนาทางการจัดหาสินค้าอย่าง รับผิดชอบและใช้อิทธิพลของตนเพื่อส่ง เสริมและปกป้องสิทธิแรงงานข้อ 5 เรียก ร้องให้คณะกรรมาธิการและประเทศสมาชิก ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสิทธิพิเศษทา ภาษีสุลกากรภายใต้โครงการ eba โดยอิงจาก การไม่ให้ความร่วมมือของรัฐบาลกัมพูชาใน การแก้ไขและปกป้องการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจนสงสารที่ชัดเจนว่าการปรับปรุงสิทธิ มนุษยชนและการปกป้องเสรีภาพของสังคม พลเมืองเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นสำหรับความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้าและการลง ทุนข้อ 6 เรียกร้องให้สหภาพยุโรปและ ประเทศสมาชิกสำรวจและมีส่วนร่วมเพิ่มเติม ในการนำเครื่องมือพ่อหู่ภาคีที่เกี่ยว ข้องกับธุรกิจและสิทธิมนุษยชนที่มี ประสิทธิภาพและหวังผลที่สูงมา ใช้ข้อ 7 เรียกร้องให้สหภาพยุโรปและชุมชน ระหว่างประเทศดำเนินการทันทีและทำอย่าง ไม่ประสิทธิภาพรวมถึงการคว่ำบาตรผู้ที่ รับผิดชอบต่อการปราบปรามทางการเมืองเพวกด ดันรัฐบาลกัมพูชาจนกว่านักโทษทางการเมือง ทั้งหมดจะได้รับการปล่อย ตัวข้อ 8 เรียกร้องให้ประเทศสมาชิกและ eas เพิ่มการสนับสนุนทุกรูปแบบรวมถึงการ สนับสนุนทางการเงินสำหรับภาคประชาสังคม ของกัมพูชาและการคุ้มครองผู้ปกป้องสิทธิ มนุษยชนตัวแทนภาคประชาสังคมและสมาชิกฝ่าย ค้านที่ถูกห่มเหงข้อ 9 สั่งให้ประธานส่ง มติฉบับนี้ไปยังสถาบันของสหภาพยุโรป ประเทศสมาชิกหน่วยงานกัมพูชาและสำนักงาน เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียง ใต้การที่กัมพูชาถูกทบทวนสิทธิพิเศษทาง การค้า 80% ที่เหลือและถูกคว่ำบาตโดย สหภาพยุโรปถือว่าน่าจะส่งผลร้ายแรงต่อ เศรษฐกิจและการพัฒนาของประเทศอย่างมาก เพราะก่อนหน้านี้สหภาพยุโรปได้เคยประกาศ เพิกถอนสิทธิพิเศษทางการค้าหรือ eba ที่ มีต่อกัมพูชาในสินค้าหลักได้ได้แก่สิ่ง ทอรเสื้อผ้าสำเร็จรูปรองเท้าจากปัญหา สิทธิมนุษย์ชชนและแรงงานโดยมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 12 สิงหาคม 2563 เป็นระยะ เวลา 6 เดือนนับจากการประกาศในครั้งนั้น โดยในปี 2562 กัมพูชาส่งออกสินค้าไปยัง สหภาพยุโรปมากถึง 45% ของมูลค่าการส่งออก ทั้งหมดคิดเป็นมูลค่ารวม 5,300 ล้านยูโร หรือ 170,000 - 180,000 ล้านบาทซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นสินค้าสิ่งทอและเสื้อผ้า สำเร็จรูปที่มีสส่วนมากถึง 78% ของมูลค่า การส่งออกไปยังตลาด EU คิดเป็นมูลค่า 1348 ล้านบาทรองลงมาได้แก่รองเท้าสัส่วน 13% หรือคิดเป็นมูลค่า 23,000 ล้านบาทผล จากการถูกตัดสิทธิพิเศษ eba จะทำให้ผู้ ผลิตและผู้ส่งออกสินค้าไปยังสหภาพยุโรป ต้องเสียภาษีน้ำเข้ามากขึ้นโดยจะเสียภาษี 12% สำหรับรายการสิ่งทอและเครื่องนุ่ง ห่มและเสียภาษี 88% สำหรับพราดการรองเท้า ส่งผลให้ผู้ทรงออกกัมพูชาต้องเสียภาษีมาก ขึ้นและบั่นทอนความสามารถการแข่งขันเมื่อ เทียบกับคู่แข่งในภูมิภาคผลกระทบอีกอย่าง ก็คือการลงทุนจากต่างชาติในกำภูชาโดย เฉพาะการผลิตสินค้าที่ถูกคว่ำบาตรที่น่า วิตกไปกว่านั้นก็คือการที่ต้องมาลุ้นว่า รัฐบาลอเมริกันจะเดินตามแนวทางของสหภาพ ยุโรปด้วยหรือไม่ซึ่งหากดูจากบริบทและข้อ มูลที่ผ่านมาแล้วก็ต้องบอกว่ามีความเป็น ไปได้สูงมากและตลาดอเมริกาก็ยังเป็นตลาด ส่งออกที่ใหญ่ที่สุดของกัมพูชาอีกด้วย เพราะมีมูลค่าเกือบ 40% ของการส่งออก สินค้าทั้งหมดในปี 2023 ที่ผ่านมาคิดเป็น มูลค่า 8,800 ล้านเหรียญสหรัฐหรือราว 35,000 ล้านบาทในขณะที่จีนเป็นประเทศที่ มีการเข้ามาลงทุนในกัมพูชามากที่ สุดที่น่ากังวลสำหรับประเทศไทยก็คือไทย อาจจะถูกห่างเลขไปด้วยหลังจากที่ทางการ ไทยได้ผลักดันผู้เห็นต่างทางการเมืองชาว กัมพูชาจำนวน 6 รายออกนอกประเทศทำให้ สำนักงานข้าวหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่ง สหประชาชาติหรือ unh CR ได้ออกมาประนาม ผ่านสำนักข่าว Radio ีเอเชียว่าการกระทำ ดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดความมุ่ง มั่นต่อหลักการไม่ส่งกลับไปยังประเทศที่ อาจเผชิญกับการทรมานหรือการละเมิดสิทธิ มนุษยชนรูปแบบอื่นๆนักเคลื่อนไหว 6 คนมี ส่วนเกี่ยวข้องกับพรรคกอบกู้ชาติกัมพูชา ที่ถูกสั่งแบนโดยมีผู้เยา 1 คนวัย 7 ขวบ ซึ่งทั้งหมดได้ถูกเนรเทศจากประเทศไทยกลับ กัมพูชาเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายนที่ผ่าน มาตามคำร้องขอของรัฐบาลเขมรโดยผู้ใหญ่ ทั้ง 6 คนได้ถูกตั้งข้อหากบฏหลังจากที่ ได้หนีออกมาไม่นานนางอีเลนเพียสันผู้ อำนวยการกิจการเอเชียของ Human R Watch กล่าวว่ารัฐบาลไทยควรอยู่ร่วมมือกับ กัมพูชาในการช่วยไ่ล่าพรรคการเมืองที่ถูก ยุบเมื่อ 7 ปีก่อนเจ้าหน้าที่แทยเนรเทศ ผู้ลี้ภัยชาวกัมพูชาเหล่านี้โดยเพิกเฉย ต่อหลักการคุ้มครองผู้ลี้ภัยขั้นพื้นฐาน อย่างโจ่งแจ้งทางการไทยไม่ควรสมรู้ร่วม คิดในการข่มเหงผู้วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล กัมพูชาการที่รัฐบาลไทยให้ความร่วมมือกับ รัฐบาลเขมรตขาดต่อหลักสิทธิมนุษยชนชนสากล อาจจะส่งผลเสียต่อไทยตามมาในภายหลังได้ หากกระทำลงไปโดยที่ไม่มีความรอบคอบหรือ ระมัดระวังในทางตรงกันข้ามกัมพูชากลับ เป็นที่พักพิงของผู้ริภัยทางการเมืองหรือ อาชญากรชาวไทยมาโดยตลอดโดยที่ไม่มีการส่ง ตัวผู้ร้ายกับประเทศด้วยซึ่งดูจะย้อนแย้ง กันอยู่

No comments:

Post a Comment